ข่าวประชาสัมพันธ์ งานพัสดุ ประชาพิจารณ์(ร่าง) รายละเอียด คุณลักษณะเฉพาะครุภัณฑ์ ชุดโบกี้ พฤศจิกายน 30, 2020พฤศจิกายน 30, 2020 admin 4 Comments (ร่าง) ประกาศชุดโบกี้ Recommended For Youประกาศวิทยาลัยเทคนิคนครลำปาง เรื่อง ประกาศรับสมัครลูกจ้างชั่วคราว-ตำแหน่งครูพิเศษสอน สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 2 อัตรา ตั้งแต่วันที่ 29 ก.ย.-9 ต.ค. 66ประกาศรับสมัครลูกจ้าประกาศวิทยาลัยเทคนิคนครลำปาง เรื่อง ประกาศรับสมัครลูกจ้างชั่วคราว-ตำแหน่งยามรักษาการ 1 อัตรา ตั้งแต่วันที่ 28 ก.ย.-8 ต.ค. 66ประกาศรับสมัครลูกจ้าประกาศวิทยาลัยเทคนิคนครลำปาง เรื่อง ประกาศรับสมัครลูกจ้างชั่วคราวตำแหน่งเจ้าหน้าที่การเงิน 1 อัตรา ตั้งแต่วันที่ 29 ก.ย.-9 ต.ค. 66ประกาศรับสมัครลูกจ้าประกาศวิทยาลัยเทคนิคนครลำปาง เรื่อง ประกาศประกาศรับสมัครตำแหน่งแม่บ้าน จำนวน 1 อัตราประกาศรับสมัครตำแหน่ประกาศวิทยาลัยเทคนิคนครลำปาง เรื่อง ประกาศรายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือกพนักงานราชการ ตำแหน่งครูช่างยนต์ประกาศรายชื่อผู้ผ่านประกาศวิทยาลัยเทคนิคนครลำปาง เรื่อง ประกาศรายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือกพนักงานราชการ ตำแหน่งบริหารงานทั่วไปรายชื่อผู้ผ่านการเลื Post Views: 2,657 ← ประชาพิจารณ์(ร่าง) รายละเอียด คุณลักษณะเฉพาะครุภัณฑ์ ชุดเทริน์เอาท์ ประกาศผู้มีสิทธิ์สอบตำแหน่งเจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ → 4 thoughts on “ประชาพิจารณ์(ร่าง) รายละเอียด คุณลักษณะเฉพาะครุภัณฑ์ ชุดโบกี้” วัฒนา สมานจิตรธันวาคม 2, 2020 at 7:49 amPermalink เรียนผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิคนครลำปาง ตามที่วิทยาลัยเทคนิคนครลำปางได้มีประกาศประชาพิจารณ์(ร่าง)รายละเอียดครุภัณฑ์ โบกี้ระบบเบรคและการห้ามล้อขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า สำหรับการเรียนและการฝึกปฏิบัติงานถอดประกอบ ซ่อมบำรุงโบกี้รถไฟ งานฝึกปฏิบัติควบคุมและซ่อมบำรุงระบบห้ามล้อรถไฟฟ้า ของช่างเทคนิคควบคุมและซ่อมบำรุงระบบขนส่งทางราง สาขางานซ่อมตู้รถไฟ เพื่อประโยชน์แก่ผู้เรียนบริษัทเสนอแนะให้มีการปรับปรุงแก้ไขรายละเอียดทางเทคนิครายการครุภัณฑ์ดังนี้ 1. ขอให้พิจารณาตัดเสปคจอประมวลผลชุดควบคุมห้ามล้อด้วยไฟฟ้าข้อ 2.5 ออก เนื่องจากจากเสปคที่กำหนดมานั้นอาจจะเป็นการเข้าข่ายมุ่งเน้นจัดซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์มากกว่าครุภัณฑ์หลักคือชุดโบกี้และห้ามล้อ เนื่องจากระบบห้ามล้อรถไฟที่ใช้ในประเทศไทยปัจจุบันไม่ว่าจะเป็น Siemen J-TREC Hitachi Alstom ฯลฯ ควบคุมการทำงานด้วย PLC และ/หรือ Micro controller สำหรับเชื่อมโยงกับระบบควบคุมการขับเคลื่อน (Traction) ซึ่งไม่ได้มีความจำเป็นที่จะต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ควบคุม การเพิ่มเสปคข้อนี้เข้ามาจึงไม่สอดคล้องกับการเรียนในระบบรถไฟจริง 2. ข้อ 2.2.3 มีระบุจอขยายแสดงผลที่เชื่อมต่อกับชุดควบคุมห้ามล้อไว้แล้ว ไม่จำเป็นที่จะต้องมีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นจอประมวลผลชุดควบคุมห้ามล้อด้วยไฟฟ้า เพิ่มเข้าไปอีก และ 3. เพื่อประโยชน์ต่อการฝึกทักษะในงานระบบห้ามล้อสำหรับนักศึกษาขอเสนอแนะให้เปลี่ยนข้อ 2.5 เป็นชุฝึก PLC พร้อมซอฟแวร์สำหรับการฝึกปฏิบัติงานโปรแกรมควบคุมระบบห้ามล้อ จำนวน 1 ชุด จะมีประโยชน์ต่อการฝึกทักษะช่างซ่อมงานตู้รถไฟมากกว่าการจัดซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ 4. ข้อ 2.2.18 ขอให้เพิ่มจำนวนห้ามล้อของจริงที่ใช้กับรถไฟฟ้าเป็น 2 ชุดเนื่องจากการห้ามล้อโบกี้ต้องควบคุมเป็นคู่ซ้าย-ขวา ขอแสดงความนับถือ นายวัฒนา สมานจิตร กรรมการผู้จัดการบริษัท ทริพเพิล เอ็กซ์เพิร์ท จำกัด Reply Suthee Phochanธันวาคม 3, 2020 at 5:25 amPermalink เรียน ท่านผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิคนครลำปาง อ้างถึงประกาศพิจารณ์(ร่าง) คุณสมบัติครุภัณฑ์ชุดโบกี้ระบบเบรคและการห้ามล้อขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้าทางบริษัทมีข้อเสนอแนะสำหรับการปรับแก้ ดังนี้ 1. คุณสมบัติเครื่องประมวลผลช่วยสอนในรายการที่ 2.5 มีรายละเอียดที่เฉพาะเจาะไปที่ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ผลิตบางรายลงเกินอาจจะส่งผลให้ไม่มีผู้ที่สามารถเข้าแข่งขันได้ 2. ขอเสนอแนะให้เพิ่มจำนวนเบรครถไฟฟ้าของจริงเป็น 2 ชุด เพื่อให้สามารถเรียนรู้การควบคุมห้ามล้อรถไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพและถูกต้อง ขอแสดงความนับถือ นายสุธี โพธิ์จันทร์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอสทีพี แอ็ดวานซ์ โพรดักส์ จำกัด Reply ปานรดา สัมภวะคุปต์ธันวาคม 3, 2020 at 8:50 amPermalink เรียน ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิคนครลำปาง บริษัทในฐานะผู้ประกอบการติดตั้งระบบรางในประเทศไทยซึ่งเป็นผู้ใช้ช่างเทคนิคสำหรับงานติดตั้งระบบราง ปัจจุบันได้ดำเนินการติดตั้งงานระบบรถไฟสายสีแดง และปัจจุบันได้รับนักศึกษาช่างเทคนิคควบคุมและซ่อมบำรุงระบบขนส่งทาราง เข้าฝึกงานในโครงการดังกล่าว มีความกังวลต่อคุณลักษณะครุภัณฑ์ที่ทางวิทยาลัยประกาศ จึงได้มีข้อเสนอแนะให้มีการปรับปรุงแก้ไขรายละเอียดรายละเอียดครุภัณฑ์ ชุดเทริน์เอาท์สับหลีกทางแบบหลายเส้นทาง (Multi turnout) และ โบกี้ระบบเบรคและการห้ามล้อขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า ดังนี้ ชุดเทริน์เอาท์สับหลีกทางแบบหลายเส้นทาง 1.มีรายการที่ไม่เกี่ยวข้องกับงานระบบรถไฟจำนวน 2 รายการ ในข้อ 2.5 และ 2.6 ซึ่งเป็นรายการคอมพิวเตอร์ และ กระดานซอฟแวร์อัจฉริยะ ที่ไม่ตรงกับวัตถุประสงค์การเรียนในข้อ 1 ขอให้คณะกรรมการพิจารณาความเกี่ยวโยงของอุปกรณ์ประกอบในรายการครุภัณฑ์เพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุด 2.ควรมีการเพิ่มรายการครุภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องการการฝึกประสบการณ์ผู้เรียน อาทิเช่น จำนวนชุดฝึกปฏิบัติทางวิ่งรถไฟ (เพิ่มชนิดของหมอนเป็นหมอนไม้ หมอนเหล็ก หรือ slap track เป็นต้น ชุดฝึกเครื่องยึดเหนี่ยวตามมาตรฐาน GB เช่นแบบ WJ8, WJ&, Type IV, Type V เป็นต้น และประกับราง 60 kg ตามมาตรฐาน GB 3.ขอให้พิจารณางบประมาณในรายการข้อ 2.5 และ 2.6 มาเพิ่มเติมรายการชุดฝึกในหัวข้อด้านบน เพื่อให้ผู้เรียนมีประสบการณ์งานทางตามมาตรฐาน GB สำหรับการปฏิบัติงานระบบรถไฟในโครงการรถไฟความเร็วสูงสายภาคนะวันออกเฉียงเหนือซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทย-จีน ที่กำลังจะเริ่มรับสมัครคนเข้าทำงานในเร็ววันนี้ โบกี้ระบบเบรคและการห้ามล้อขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า 1.เพิ่มจำนวนห้ามล้อชนิดคาลิเปอร์เบรกของจริงในระบบรถไฟฟ้าจาก 1 ชุดเป็น 2 ชุด เพื่อให้เกิดความสมดุลย์ในการควบคุมการห้ามล้อโบกี้ต่อ 1 เพลา ซ้าย/ขวา 2.ระบบห้ามล้อรถไฟและรถไฟความเร็วสูงใช้ระบบไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุม การเพิ่มอุปกรณ์คอมพิวเตอร์อาจจะไม่สมประโยชน์ต่อการเรียนและการฝึกปฏิบัติ ขอเสนอแนะให้นำงบประมาณในส่วนนี้ไปเพิ่มจำนวน ห้ามล้อของจริงสำหรับการฝึกปฏิบัติแทน 3.ขอให้มีการระบุเพิ่มเติมในส่วนของการฝึกระบบควบคุมห้ามล้อ หรือเพิ่มชุดฝึกการเขียนโปรแกรม หรือการต่อสายไฟในระบบควบคุมห้ามล้อเพิ่มเติม 4.ขอให้มีการเรียนรู้ระบบลมห้ามล้อ และคู่มือการถอดประกอบชุดคาลิเปอร์เบรกรถไฟ ในรายการครุภัณฑ์ด้วย ขอแสดงความนับถือ นางสาวปานรดา สัมภวะคุปต์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอ็น-แสควร์ เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด Reply ปานรดา สัมภวะคุปต์ธันวาคม 3, 2020 at 8:55 amPermalink เรียน ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิคนครลำปาง บริษัทในฐานะผู้ประกอบการติดตั้งระบบรางในประเทศไทยซึ่งเป็นผู้ใช้ช่างเทคนิคสำหรับงานติดตั้งระบบราง ปัจจุบันได้ดำเนินการติดตั้งงานระบบรถไฟสายสีแดง และปัจจุบันได้รับนักศึกษาช่างเทคนิคควบคุมและซ่อมบำรุงระบบขนส่งทาราง เข้าฝึกงานในโครงการดังกล่าว มีความกังวลต่อคุณลักษณะครุภัณฑ์ที่ทางวิทยาลัยประกาศ จึงได้มีข้อเสนอแนะให้มีการปรับปรุงแก้ไขรายละเอียดรายละเอียดครุภัณฑ์ ชุดเทริน์เอาท์สับหลีกทางแบบหลายเส้นทาง (Multi turnout) และ โบกี้ระบบเบรคและการห้ามล้อขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า ดังนี้ ชุดเทริน์เอาท์สับหลีกทางแบบหลายเส้นทาง 1. มีรายการที่ไม่เกี่ยวข้องกับงานระบบรถไฟจำนวน 2 รายการ ในข้อ 2.5 และ 2.6 ซึ่งเป็นรายการคอมพิวเตอร์ และ กระดานซอฟแวร์อัจฉริยะ ที่ไม่ตรงกับวัตถุประสงค์การเรียนในข้อ 1 ขอให้คณะกรรมการพิจารณาความเกี่ยวโยงของอุปกรณ์ประกอบในรายการครุภัณฑ์เพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุด 2. ควรมีการเพิ่มรายการครุภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องการการฝึกประสบการณ์ผู้เรียน อาทิเช่น จำนวนชุดฝึกปฏิบัติทางวิ่งรถไฟ (เพิ่มชนิดของหมอนเป็นหมอนไม้ หมอนเหล็ก หรือ slap track เป็นต้น ชุดฝึกเครื่องยึดเหนี่ยวตามมาตรฐาน GB เช่นแบบ WJ8, WJ&, Type IV, Type V เป็นต้น และประกับราง 60 kg ตามมาตรฐาน GB 3. ขอให้พิจารณางบประมาณในรายการข้อ 2.5 และ 2.6 มาเพิ่มเติมรายการชุดฝึกในหัวข้อด้านบน เพื่อให้ผู้เรียนมีประสบการณ์งานทางตามมาตรฐาน GB สำหรับการปฏิบัติงานระบบรถไฟในโครงการรถไฟความเร็วสูงสายภาคนะวันออกเฉียงเหนือซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทย-จีน ที่กำลังจะเริ่มรับสมัครคนเข้าทำงานในเร็ววันนี้ โบกี้ระบบเบรคและการห้ามล้อขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า 1. เพิ่มจำนวนห้ามล้อชนิดคาลิเปอร์เบรกของจริงในระบบรถไฟฟ้าจาก 1 ชุดเป็น 2 ชุด เพื่อให้เกิดความสมดุลย์ในการควบคุมการห้ามล้อโบกี้ต่อ 1 เพลา ซ้าย/ขวา 2. ระบบห้ามล้อรถไฟและรถไฟความเร็วสูงใช้ระบบไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุม การเพิ่มอุปกรณ์คอมพิวเตอร์อาจจะไม่สมประโยชน์ต่อการเรียนและการฝึกปฏิบัติ ขอเสนอแนะให้นำงบประมาณในส่วนนี้ไปเพิ่มจำนวน ห้ามล้อของจริงสำหรับการฝึกปฏิบัติแทน 3. ขอให้มีการระบุเพิ่มเติมในส่วนของการฝึกระบบควบคุมห้ามล้อ หรือเพิ่มชุดฝึกการเขียนโปรแกรม หรือการต่อสายไฟในระบบควบคุมห้ามล้อเพิ่มเติม 4. ขอให้มีการเรียนรู้ระบบลมห้ามล้อ และคู่มือการถอดประกอบชุดคาลิเปอร์เบรกรถไฟ ในรายการครุภัณฑ์ด้วย ขอแสดงความนับถือ นางสาวปานรดา สัมภวะคุปต์ ผู้จัดการ บริษัท เอ็น-แสควร์ เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด Reply ใส่ความเห็น ยกเลิกการตอบอีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *ความเห็น * ชื่อ * อีเมล * เว็บไซต์ บันทึกชื่อ, อีเมล และชื่อเว็บไซต์ของฉันบนเบราว์เซอร์นี้ สำหรับการแสดงความเห็นครั้งถัดไป
วัฒนา สมานจิตรธันวาคม 2, 2020 at 7:49 amPermalink เรียนผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิคนครลำปาง ตามที่วิทยาลัยเทคนิคนครลำปางได้มีประกาศประชาพิจารณ์(ร่าง)รายละเอียดครุภัณฑ์ โบกี้ระบบเบรคและการห้ามล้อขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า สำหรับการเรียนและการฝึกปฏิบัติงานถอดประกอบ ซ่อมบำรุงโบกี้รถไฟ งานฝึกปฏิบัติควบคุมและซ่อมบำรุงระบบห้ามล้อรถไฟฟ้า ของช่างเทคนิคควบคุมและซ่อมบำรุงระบบขนส่งทางราง สาขางานซ่อมตู้รถไฟ เพื่อประโยชน์แก่ผู้เรียนบริษัทเสนอแนะให้มีการปรับปรุงแก้ไขรายละเอียดทางเทคนิครายการครุภัณฑ์ดังนี้ 1. ขอให้พิจารณาตัดเสปคจอประมวลผลชุดควบคุมห้ามล้อด้วยไฟฟ้าข้อ 2.5 ออก เนื่องจากจากเสปคที่กำหนดมานั้นอาจจะเป็นการเข้าข่ายมุ่งเน้นจัดซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์มากกว่าครุภัณฑ์หลักคือชุดโบกี้และห้ามล้อ เนื่องจากระบบห้ามล้อรถไฟที่ใช้ในประเทศไทยปัจจุบันไม่ว่าจะเป็น Siemen J-TREC Hitachi Alstom ฯลฯ ควบคุมการทำงานด้วย PLC และ/หรือ Micro controller สำหรับเชื่อมโยงกับระบบควบคุมการขับเคลื่อน (Traction) ซึ่งไม่ได้มีความจำเป็นที่จะต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ควบคุม การเพิ่มเสปคข้อนี้เข้ามาจึงไม่สอดคล้องกับการเรียนในระบบรถไฟจริง 2. ข้อ 2.2.3 มีระบุจอขยายแสดงผลที่เชื่อมต่อกับชุดควบคุมห้ามล้อไว้แล้ว ไม่จำเป็นที่จะต้องมีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นจอประมวลผลชุดควบคุมห้ามล้อด้วยไฟฟ้า เพิ่มเข้าไปอีก และ 3. เพื่อประโยชน์ต่อการฝึกทักษะในงานระบบห้ามล้อสำหรับนักศึกษาขอเสนอแนะให้เปลี่ยนข้อ 2.5 เป็นชุฝึก PLC พร้อมซอฟแวร์สำหรับการฝึกปฏิบัติงานโปรแกรมควบคุมระบบห้ามล้อ จำนวน 1 ชุด จะมีประโยชน์ต่อการฝึกทักษะช่างซ่อมงานตู้รถไฟมากกว่าการจัดซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ 4. ข้อ 2.2.18 ขอให้เพิ่มจำนวนห้ามล้อของจริงที่ใช้กับรถไฟฟ้าเป็น 2 ชุดเนื่องจากการห้ามล้อโบกี้ต้องควบคุมเป็นคู่ซ้าย-ขวา ขอแสดงความนับถือ นายวัฒนา สมานจิตร กรรมการผู้จัดการบริษัท ทริพเพิล เอ็กซ์เพิร์ท จำกัด Reply
Suthee Phochanธันวาคม 3, 2020 at 5:25 amPermalink เรียน ท่านผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิคนครลำปาง อ้างถึงประกาศพิจารณ์(ร่าง) คุณสมบัติครุภัณฑ์ชุดโบกี้ระบบเบรคและการห้ามล้อขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้าทางบริษัทมีข้อเสนอแนะสำหรับการปรับแก้ ดังนี้ 1. คุณสมบัติเครื่องประมวลผลช่วยสอนในรายการที่ 2.5 มีรายละเอียดที่เฉพาะเจาะไปที่ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ผลิตบางรายลงเกินอาจจะส่งผลให้ไม่มีผู้ที่สามารถเข้าแข่งขันได้ 2. ขอเสนอแนะให้เพิ่มจำนวนเบรครถไฟฟ้าของจริงเป็น 2 ชุด เพื่อให้สามารถเรียนรู้การควบคุมห้ามล้อรถไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพและถูกต้อง ขอแสดงความนับถือ นายสุธี โพธิ์จันทร์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอสทีพี แอ็ดวานซ์ โพรดักส์ จำกัด Reply
ปานรดา สัมภวะคุปต์ธันวาคม 3, 2020 at 8:50 amPermalink เรียน ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิคนครลำปาง บริษัทในฐานะผู้ประกอบการติดตั้งระบบรางในประเทศไทยซึ่งเป็นผู้ใช้ช่างเทคนิคสำหรับงานติดตั้งระบบราง ปัจจุบันได้ดำเนินการติดตั้งงานระบบรถไฟสายสีแดง และปัจจุบันได้รับนักศึกษาช่างเทคนิคควบคุมและซ่อมบำรุงระบบขนส่งทาราง เข้าฝึกงานในโครงการดังกล่าว มีความกังวลต่อคุณลักษณะครุภัณฑ์ที่ทางวิทยาลัยประกาศ จึงได้มีข้อเสนอแนะให้มีการปรับปรุงแก้ไขรายละเอียดรายละเอียดครุภัณฑ์ ชุดเทริน์เอาท์สับหลีกทางแบบหลายเส้นทาง (Multi turnout) และ โบกี้ระบบเบรคและการห้ามล้อขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า ดังนี้ ชุดเทริน์เอาท์สับหลีกทางแบบหลายเส้นทาง 1.มีรายการที่ไม่เกี่ยวข้องกับงานระบบรถไฟจำนวน 2 รายการ ในข้อ 2.5 และ 2.6 ซึ่งเป็นรายการคอมพิวเตอร์ และ กระดานซอฟแวร์อัจฉริยะ ที่ไม่ตรงกับวัตถุประสงค์การเรียนในข้อ 1 ขอให้คณะกรรมการพิจารณาความเกี่ยวโยงของอุปกรณ์ประกอบในรายการครุภัณฑ์เพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุด 2.ควรมีการเพิ่มรายการครุภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องการการฝึกประสบการณ์ผู้เรียน อาทิเช่น จำนวนชุดฝึกปฏิบัติทางวิ่งรถไฟ (เพิ่มชนิดของหมอนเป็นหมอนไม้ หมอนเหล็ก หรือ slap track เป็นต้น ชุดฝึกเครื่องยึดเหนี่ยวตามมาตรฐาน GB เช่นแบบ WJ8, WJ&, Type IV, Type V เป็นต้น และประกับราง 60 kg ตามมาตรฐาน GB 3.ขอให้พิจารณางบประมาณในรายการข้อ 2.5 และ 2.6 มาเพิ่มเติมรายการชุดฝึกในหัวข้อด้านบน เพื่อให้ผู้เรียนมีประสบการณ์งานทางตามมาตรฐาน GB สำหรับการปฏิบัติงานระบบรถไฟในโครงการรถไฟความเร็วสูงสายภาคนะวันออกเฉียงเหนือซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทย-จีน ที่กำลังจะเริ่มรับสมัครคนเข้าทำงานในเร็ววันนี้ โบกี้ระบบเบรคและการห้ามล้อขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า 1.เพิ่มจำนวนห้ามล้อชนิดคาลิเปอร์เบรกของจริงในระบบรถไฟฟ้าจาก 1 ชุดเป็น 2 ชุด เพื่อให้เกิดความสมดุลย์ในการควบคุมการห้ามล้อโบกี้ต่อ 1 เพลา ซ้าย/ขวา 2.ระบบห้ามล้อรถไฟและรถไฟความเร็วสูงใช้ระบบไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุม การเพิ่มอุปกรณ์คอมพิวเตอร์อาจจะไม่สมประโยชน์ต่อการเรียนและการฝึกปฏิบัติ ขอเสนอแนะให้นำงบประมาณในส่วนนี้ไปเพิ่มจำนวน ห้ามล้อของจริงสำหรับการฝึกปฏิบัติแทน 3.ขอให้มีการระบุเพิ่มเติมในส่วนของการฝึกระบบควบคุมห้ามล้อ หรือเพิ่มชุดฝึกการเขียนโปรแกรม หรือการต่อสายไฟในระบบควบคุมห้ามล้อเพิ่มเติม 4.ขอให้มีการเรียนรู้ระบบลมห้ามล้อ และคู่มือการถอดประกอบชุดคาลิเปอร์เบรกรถไฟ ในรายการครุภัณฑ์ด้วย ขอแสดงความนับถือ นางสาวปานรดา สัมภวะคุปต์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอ็น-แสควร์ เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด Reply
ปานรดา สัมภวะคุปต์ธันวาคม 3, 2020 at 8:55 amPermalink เรียน ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิคนครลำปาง บริษัทในฐานะผู้ประกอบการติดตั้งระบบรางในประเทศไทยซึ่งเป็นผู้ใช้ช่างเทคนิคสำหรับงานติดตั้งระบบราง ปัจจุบันได้ดำเนินการติดตั้งงานระบบรถไฟสายสีแดง และปัจจุบันได้รับนักศึกษาช่างเทคนิคควบคุมและซ่อมบำรุงระบบขนส่งทาราง เข้าฝึกงานในโครงการดังกล่าว มีความกังวลต่อคุณลักษณะครุภัณฑ์ที่ทางวิทยาลัยประกาศ จึงได้มีข้อเสนอแนะให้มีการปรับปรุงแก้ไขรายละเอียดรายละเอียดครุภัณฑ์ ชุดเทริน์เอาท์สับหลีกทางแบบหลายเส้นทาง (Multi turnout) และ โบกี้ระบบเบรคและการห้ามล้อขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า ดังนี้ ชุดเทริน์เอาท์สับหลีกทางแบบหลายเส้นทาง 1. มีรายการที่ไม่เกี่ยวข้องกับงานระบบรถไฟจำนวน 2 รายการ ในข้อ 2.5 และ 2.6 ซึ่งเป็นรายการคอมพิวเตอร์ และ กระดานซอฟแวร์อัจฉริยะ ที่ไม่ตรงกับวัตถุประสงค์การเรียนในข้อ 1 ขอให้คณะกรรมการพิจารณาความเกี่ยวโยงของอุปกรณ์ประกอบในรายการครุภัณฑ์เพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุด 2. ควรมีการเพิ่มรายการครุภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องการการฝึกประสบการณ์ผู้เรียน อาทิเช่น จำนวนชุดฝึกปฏิบัติทางวิ่งรถไฟ (เพิ่มชนิดของหมอนเป็นหมอนไม้ หมอนเหล็ก หรือ slap track เป็นต้น ชุดฝึกเครื่องยึดเหนี่ยวตามมาตรฐาน GB เช่นแบบ WJ8, WJ&, Type IV, Type V เป็นต้น และประกับราง 60 kg ตามมาตรฐาน GB 3. ขอให้พิจารณางบประมาณในรายการข้อ 2.5 และ 2.6 มาเพิ่มเติมรายการชุดฝึกในหัวข้อด้านบน เพื่อให้ผู้เรียนมีประสบการณ์งานทางตามมาตรฐาน GB สำหรับการปฏิบัติงานระบบรถไฟในโครงการรถไฟความเร็วสูงสายภาคนะวันออกเฉียงเหนือซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทย-จีน ที่กำลังจะเริ่มรับสมัครคนเข้าทำงานในเร็ววันนี้ โบกี้ระบบเบรคและการห้ามล้อขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า 1. เพิ่มจำนวนห้ามล้อชนิดคาลิเปอร์เบรกของจริงในระบบรถไฟฟ้าจาก 1 ชุดเป็น 2 ชุด เพื่อให้เกิดความสมดุลย์ในการควบคุมการห้ามล้อโบกี้ต่อ 1 เพลา ซ้าย/ขวา 2. ระบบห้ามล้อรถไฟและรถไฟความเร็วสูงใช้ระบบไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุม การเพิ่มอุปกรณ์คอมพิวเตอร์อาจจะไม่สมประโยชน์ต่อการเรียนและการฝึกปฏิบัติ ขอเสนอแนะให้นำงบประมาณในส่วนนี้ไปเพิ่มจำนวน ห้ามล้อของจริงสำหรับการฝึกปฏิบัติแทน 3. ขอให้มีการระบุเพิ่มเติมในส่วนของการฝึกระบบควบคุมห้ามล้อ หรือเพิ่มชุดฝึกการเขียนโปรแกรม หรือการต่อสายไฟในระบบควบคุมห้ามล้อเพิ่มเติม 4. ขอให้มีการเรียนรู้ระบบลมห้ามล้อ และคู่มือการถอดประกอบชุดคาลิเปอร์เบรกรถไฟ ในรายการครุภัณฑ์ด้วย ขอแสดงความนับถือ นางสาวปานรดา สัมภวะคุปต์ ผู้จัดการ บริษัท เอ็น-แสควร์ เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด Reply
เรียนผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิคนครลำปาง
ตามที่วิทยาลัยเทคนิคนครลำปางได้มีประกาศประชาพิจารณ์(ร่าง)รายละเอียดครุภัณฑ์ โบกี้ระบบเบรคและการห้ามล้อขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า สำหรับการเรียนและการฝึกปฏิบัติงานถอดประกอบ ซ่อมบำรุงโบกี้รถไฟ งานฝึกปฏิบัติควบคุมและซ่อมบำรุงระบบห้ามล้อรถไฟฟ้า ของช่างเทคนิคควบคุมและซ่อมบำรุงระบบขนส่งทางราง สาขางานซ่อมตู้รถไฟ เพื่อประโยชน์แก่ผู้เรียนบริษัทเสนอแนะให้มีการปรับปรุงแก้ไขรายละเอียดทางเทคนิครายการครุภัณฑ์ดังนี้
1. ขอให้พิจารณาตัดเสปคจอประมวลผลชุดควบคุมห้ามล้อด้วยไฟฟ้าข้อ 2.5 ออก เนื่องจากจากเสปคที่กำหนดมานั้นอาจจะเป็นการเข้าข่ายมุ่งเน้นจัดซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์มากกว่าครุภัณฑ์หลักคือชุดโบกี้และห้ามล้อ เนื่องจากระบบห้ามล้อรถไฟที่ใช้ในประเทศไทยปัจจุบันไม่ว่าจะเป็น Siemen J-TREC Hitachi Alstom ฯลฯ ควบคุมการทำงานด้วย PLC และ/หรือ Micro controller สำหรับเชื่อมโยงกับระบบควบคุมการขับเคลื่อน (Traction) ซึ่งไม่ได้มีความจำเป็นที่จะต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ควบคุม การเพิ่มเสปคข้อนี้เข้ามาจึงไม่สอดคล้องกับการเรียนในระบบรถไฟจริง
2. ข้อ 2.2.3 มีระบุจอขยายแสดงผลที่เชื่อมต่อกับชุดควบคุมห้ามล้อไว้แล้ว ไม่จำเป็นที่จะต้องมีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นจอประมวลผลชุดควบคุมห้ามล้อด้วยไฟฟ้า เพิ่มเข้าไปอีก และ
3. เพื่อประโยชน์ต่อการฝึกทักษะในงานระบบห้ามล้อสำหรับนักศึกษาขอเสนอแนะให้เปลี่ยนข้อ 2.5 เป็นชุฝึก PLC พร้อมซอฟแวร์สำหรับการฝึกปฏิบัติงานโปรแกรมควบคุมระบบห้ามล้อ จำนวน 1 ชุด จะมีประโยชน์ต่อการฝึกทักษะช่างซ่อมงานตู้รถไฟมากกว่าการจัดซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์
4. ข้อ 2.2.18 ขอให้เพิ่มจำนวนห้ามล้อของจริงที่ใช้กับรถไฟฟ้าเป็น 2 ชุดเนื่องจากการห้ามล้อโบกี้ต้องควบคุมเป็นคู่ซ้าย-ขวา
ขอแสดงความนับถือ
นายวัฒนา สมานจิตร
กรรมการผู้จัดการบริษัท ทริพเพิล เอ็กซ์เพิร์ท จำกัด
เรียน ท่านผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิคนครลำปาง
อ้างถึงประกาศพิจารณ์(ร่าง) คุณสมบัติครุภัณฑ์ชุดโบกี้ระบบเบรคและการห้ามล้อขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้าทางบริษัทมีข้อเสนอแนะสำหรับการปรับแก้ ดังนี้
1. คุณสมบัติเครื่องประมวลผลช่วยสอนในรายการที่ 2.5 มีรายละเอียดที่เฉพาะเจาะไปที่ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ผลิตบางรายลงเกินอาจจะส่งผลให้ไม่มีผู้ที่สามารถเข้าแข่งขันได้
2. ขอเสนอแนะให้เพิ่มจำนวนเบรครถไฟฟ้าของจริงเป็น 2 ชุด เพื่อให้สามารถเรียนรู้การควบคุมห้ามล้อรถไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพและถูกต้อง
ขอแสดงความนับถือ
นายสุธี โพธิ์จันทร์
กรรมการผู้จัดการ
บริษัท เอสทีพี แอ็ดวานซ์ โพรดักส์ จำกัด
เรียน ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิคนครลำปาง
บริษัทในฐานะผู้ประกอบการติดตั้งระบบรางในประเทศไทยซึ่งเป็นผู้ใช้ช่างเทคนิคสำหรับงานติดตั้งระบบราง ปัจจุบันได้ดำเนินการติดตั้งงานระบบรถไฟสายสีแดง และปัจจุบันได้รับนักศึกษาช่างเทคนิคควบคุมและซ่อมบำรุงระบบขนส่งทาราง เข้าฝึกงานในโครงการดังกล่าว มีความกังวลต่อคุณลักษณะครุภัณฑ์ที่ทางวิทยาลัยประกาศ จึงได้มีข้อเสนอแนะให้มีการปรับปรุงแก้ไขรายละเอียดรายละเอียดครุภัณฑ์ ชุดเทริน์เอาท์สับหลีกทางแบบหลายเส้นทาง (Multi turnout) และ โบกี้ระบบเบรคและการห้ามล้อขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า ดังนี้
ชุดเทริน์เอาท์สับหลีกทางแบบหลายเส้นทาง
1.มีรายการที่ไม่เกี่ยวข้องกับงานระบบรถไฟจำนวน 2 รายการ ในข้อ 2.5 และ 2.6 ซึ่งเป็นรายการคอมพิวเตอร์ และ กระดานซอฟแวร์อัจฉริยะ ที่ไม่ตรงกับวัตถุประสงค์การเรียนในข้อ 1 ขอให้คณะกรรมการพิจารณาความเกี่ยวโยงของอุปกรณ์ประกอบในรายการครุภัณฑ์เพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุด
2.ควรมีการเพิ่มรายการครุภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องการการฝึกประสบการณ์ผู้เรียน อาทิเช่น จำนวนชุดฝึกปฏิบัติทางวิ่งรถไฟ (เพิ่มชนิดของหมอนเป็นหมอนไม้ หมอนเหล็ก หรือ slap track เป็นต้น ชุดฝึกเครื่องยึดเหนี่ยวตามมาตรฐาน GB เช่นแบบ WJ8, WJ&, Type IV, Type V เป็นต้น และประกับราง 60 kg ตามมาตรฐาน GB
3.ขอให้พิจารณางบประมาณในรายการข้อ 2.5 และ 2.6 มาเพิ่มเติมรายการชุดฝึกในหัวข้อด้านบน เพื่อให้ผู้เรียนมีประสบการณ์งานทางตามมาตรฐาน GB สำหรับการปฏิบัติงานระบบรถไฟในโครงการรถไฟความเร็วสูงสายภาคนะวันออกเฉียงเหนือซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทย-จีน ที่กำลังจะเริ่มรับสมัครคนเข้าทำงานในเร็ววันนี้
โบกี้ระบบเบรคและการห้ามล้อขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า
1.เพิ่มจำนวนห้ามล้อชนิดคาลิเปอร์เบรกของจริงในระบบรถไฟฟ้าจาก 1 ชุดเป็น 2 ชุด เพื่อให้เกิดความสมดุลย์ในการควบคุมการห้ามล้อโบกี้ต่อ 1 เพลา ซ้าย/ขวา
2.ระบบห้ามล้อรถไฟและรถไฟความเร็วสูงใช้ระบบไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุม การเพิ่มอุปกรณ์คอมพิวเตอร์อาจจะไม่สมประโยชน์ต่อการเรียนและการฝึกปฏิบัติ ขอเสนอแนะให้นำงบประมาณในส่วนนี้ไปเพิ่มจำนวน ห้ามล้อของจริงสำหรับการฝึกปฏิบัติแทน
3.ขอให้มีการระบุเพิ่มเติมในส่วนของการฝึกระบบควบคุมห้ามล้อ หรือเพิ่มชุดฝึกการเขียนโปรแกรม หรือการต่อสายไฟในระบบควบคุมห้ามล้อเพิ่มเติม
4.ขอให้มีการเรียนรู้ระบบลมห้ามล้อ และคู่มือการถอดประกอบชุดคาลิเปอร์เบรกรถไฟ ในรายการครุภัณฑ์ด้วย
ขอแสดงความนับถือ
นางสาวปานรดา สัมภวะคุปต์
กรรมการผู้จัดการ
บริษัท เอ็น-แสควร์ เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด
เรียน ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิคนครลำปาง
บริษัทในฐานะผู้ประกอบการติดตั้งระบบรางในประเทศไทยซึ่งเป็นผู้ใช้ช่างเทคนิคสำหรับงานติดตั้งระบบราง ปัจจุบันได้ดำเนินการติดตั้งงานระบบรถไฟสายสีแดง และปัจจุบันได้รับนักศึกษาช่างเทคนิคควบคุมและซ่อมบำรุงระบบขนส่งทาราง เข้าฝึกงานในโครงการดังกล่าว มีความกังวลต่อคุณลักษณะครุภัณฑ์ที่ทางวิทยาลัยประกาศ จึงได้มีข้อเสนอแนะให้มีการปรับปรุงแก้ไขรายละเอียดรายละเอียดครุภัณฑ์ ชุดเทริน์เอาท์สับหลีกทางแบบหลายเส้นทาง (Multi turnout) และ โบกี้ระบบเบรคและการห้ามล้อขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า ดังนี้
ชุดเทริน์เอาท์สับหลีกทางแบบหลายเส้นทาง
1. มีรายการที่ไม่เกี่ยวข้องกับงานระบบรถไฟจำนวน 2 รายการ ในข้อ 2.5 และ 2.6 ซึ่งเป็นรายการคอมพิวเตอร์ และ กระดานซอฟแวร์อัจฉริยะ ที่ไม่ตรงกับวัตถุประสงค์การเรียนในข้อ 1 ขอให้คณะกรรมการพิจารณาความเกี่ยวโยงของอุปกรณ์ประกอบในรายการครุภัณฑ์เพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุด
2. ควรมีการเพิ่มรายการครุภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องการการฝึกประสบการณ์ผู้เรียน อาทิเช่น จำนวนชุดฝึกปฏิบัติทางวิ่งรถไฟ (เพิ่มชนิดของหมอนเป็นหมอนไม้ หมอนเหล็ก หรือ slap track เป็นต้น ชุดฝึกเครื่องยึดเหนี่ยวตามมาตรฐาน GB เช่นแบบ WJ8, WJ&, Type IV, Type V เป็นต้น และประกับราง 60 kg ตามมาตรฐาน GB
3. ขอให้พิจารณางบประมาณในรายการข้อ 2.5 และ 2.6 มาเพิ่มเติมรายการชุดฝึกในหัวข้อด้านบน เพื่อให้ผู้เรียนมีประสบการณ์งานทางตามมาตรฐาน GB สำหรับการปฏิบัติงานระบบรถไฟในโครงการรถไฟความเร็วสูงสายภาคนะวันออกเฉียงเหนือซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทย-จีน ที่กำลังจะเริ่มรับสมัครคนเข้าทำงานในเร็ววันนี้
โบกี้ระบบเบรคและการห้ามล้อขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า
1. เพิ่มจำนวนห้ามล้อชนิดคาลิเปอร์เบรกของจริงในระบบรถไฟฟ้าจาก 1 ชุดเป็น 2 ชุด เพื่อให้เกิดความสมดุลย์ในการควบคุมการห้ามล้อโบกี้ต่อ 1 เพลา ซ้าย/ขวา
2. ระบบห้ามล้อรถไฟและรถไฟความเร็วสูงใช้ระบบไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุม การเพิ่มอุปกรณ์คอมพิวเตอร์อาจจะไม่สมประโยชน์ต่อการเรียนและการฝึกปฏิบัติ ขอเสนอแนะให้นำงบประมาณในส่วนนี้ไปเพิ่มจำนวน ห้ามล้อของจริงสำหรับการฝึกปฏิบัติแทน
3. ขอให้มีการระบุเพิ่มเติมในส่วนของการฝึกระบบควบคุมห้ามล้อ หรือเพิ่มชุดฝึกการเขียนโปรแกรม หรือการต่อสายไฟในระบบควบคุมห้ามล้อเพิ่มเติม
4. ขอให้มีการเรียนรู้ระบบลมห้ามล้อ และคู่มือการถอดประกอบชุดคาลิเปอร์เบรกรถไฟ ในรายการครุภัณฑ์ด้วย
ขอแสดงความนับถือ
นางสาวปานรดา สัมภวะคุปต์
ผู้จัดการ บริษัท เอ็น-แสควร์ เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด